Page 15 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 15

บทนำา





                                                   พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
         ภาพหน้าซ้ายบนและล่าง              บรมนาถบพิตร  เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ  เมื่อวันศุกร์  ที่  ๕
         พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  โดยเสด็จ  พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการความว่า
         พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร      “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
         มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
         ไปทอดพระเนตรโครงการอ่างเก็บน�้าห้วยเรือ    และภายหลังได้พระราชทาน  “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”  เพื่อเป็น
         บ้านดงน้อย ต�าบลดงมะไฟ และโครงการ  แนวทางในการด�ารงชีวิตของคนไทยในทุกระดับ  ตั้งแต่ระดับครอบครัว
         อ่างเก็บน�้าห้วยเดียก  อันเนื่องมาจาก   หมู่บ้าน  ชุมชน  จนถึงประเทศ  เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมโลก
         พระราชด�าริ  บ้านนาค�า  ต�าบลห้วยยาง
         อ�าเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร   ในยุคโลกาภิวัตน์ได้อย่างเป็นสุข ทรงอธิบายขยายความต่อมาว่า ความพอเพียง
         เมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘  หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�าเป็นที่จะต้องมี
                                           ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร

         ภาพหน้าขวา                                ต่อมาพระราชทาน  “ทฤษฎีใหม่”  ในด้านการเกษตร  เพื่อเป็น
         พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  โดยเสด็จ  เครื่องมือในการปฏิบัติตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นรูปธรรม
         พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร      และเข้าใจง่าย โดยจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
         มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
         ไปทรงเยี่ยมราษฎรที่มาเฝ้าทูลละออง  โดยเฉพาะการจัดการน�้าและดิน การเตรียมพื้นดินส�าหรับกักเก็บน�้าไว้ใช้ได้
         ธุลีพระบาทรับเสด็จ  ในโอกาสที่เสด็จ  ตลอดทั้งปี การจ�าแนกที่ดินเป็นแปลงเล็กๆ เพื่อเพาะปลูกพืชที่หลากหลาย ซึ่งทุกสิ่ง
         พระราชด�าเนินไปทรงเป็นประธานในพิธี  ที่กล่าวมาจะท�าให้เกษตรกรมีอาหารบริโภคอย่างเพียงพอ คือ การพออยู่พอกิน
         สมโภชพระบรมสารีริกธาตุที่ค้นพบในองค์   ในครัวเรือน ดังนั้นทฤษฎีใหม่จึงเป็นรูปแบบการเพาะปลูกของเกษตรกรรายย่อย
         พระธาตุพนม ณ วัดพระธาตุพนม ต�าบล
         ธาตุพนม อ�าเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม   เพื่อแก้ปัญหาความยากจน สร้างความมั่นคงด้านอาหารในระดับครัวเรือน
         เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๘  ให้พึ่งตนเองได้ก่อน ต่อจากนั้นจึงพัฒนาไปสู่การรวมกลุ่ม สร้างความเข้มแข็ง
                                           ของชุมชน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานน�าไปสู่การสร้างเครือข่ายขนาดใหญ่ต่อไป





































                                                                                                         11
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20