Page 9 - :: สมุดภาพนครราชสีมา ::
P. 9

บทนำา






                      ความประทับใจเกี่ยวกับนครราชสีมา                  หลักฐานคือสารตราเจ้าพระยาจักรีถึงพระยา

               นครราชสิมา  หรือโคราช  เป็นเมืองใหญ่มาก           นครราชสีมาและเจ้าเมืองรายทาง ลงท้ายวันพุธ
               ประกอบด้วยอําเภอ ถึง ๓๒ อําเภอ มีประชากร          แรม ๑๑ คํ่า เดือน ๓ ปีเถาะ นพศก ปีที่ ๑๗ ของ
               สูงเป็นอันดับ ๒ ของประเทศ คือ เกือบ ๓ ล้านคน      รัชกาล เทียบปฏิทินสุริยคติเท่ากับ วันพุธที่ ๑๙

               มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งด้าน   กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๑๐ แต่สมัยโน้นเราขึ้นปีใหม่
               ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประเพณี และธรรมชาติครบถ้วน    ราวเดือนเมษายน หากนับตามแบบสากลจะเป็น พ.ศ.
                      นครราชสีมาเปรียบเหมือนด่านสู่ดินแดน        ๒๔๑๑ แล้ว

               ที่ราบสูงอีสาน เต็มไปด้วยศิลปวัฒนธรรมและสถานที่         ภาพที่ขุนสุนทรสาทิสลักษณ์ (จิตร) ถ่าย
               ทางประวัติศาสตร์ ธรรมชาติมากมาย สถาปัตยกรรม       มีในหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ๒-๓ ภาพ เป็นภาพถ่าย
               จิตรกรรม ประติมากรรม และอื่นๆ รวมทั้งมวยไทย       ด้วยฟิล์มกระจก คือกระจกอาบนํ้ายาแบบเก่า มี

               มวยโคราชที่มีชื่อเสียงมาแต่โบราณ                  ความคมชัดสูง ที่มุมล่างของภาพมีตัวอักษร F.Chit
                      ถนนในนครราชสีมากว้างใหญ่ บ้านเมือง         เขียนกํากับไว้ หมายความว่าถ่ายโดย นายฟรานซิส จิตร

               สะอาด จุดเด่นแรกที่ทุกคนจะได้เห็นคือ คลองคูเมือง  เชื้อสายโปรตุเกส  ย่านวัดซางตาครู้ส  กะดีจีน
               เก่าแก่ ประตูเมืองที่งามสง่าและอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี  เพราะนายจิตรนับถือศาสนาคริสต์ มีชื่อนําหน้าว่า
               หรือคุณหญิงโม ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ เป็นที่    ฟรานซิส

               เคารพสักการะของชาวโคราชและคนไทยทั่วไป                   พ.ศ. ๒๔๔๓ บุตรชายคนหนึ่งของนายจิตร
                      นครราชสีมาหรือโคราชอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ     คือ ขุนฉายาสาทิศกร (สอาด จิตราคนี) เดินทาง
               ประมาณ ๒๕๐ กิโลเมตร ปัจจุบันมีทางหลวงพิเศษ        มาถ่ายภาพที่นครราชสีมาอีกคราว เป็นการตามเสด็จ

               สร้างใหม่ บางปะอิน-นครราชสีมา (เปิดทดลองใช้เมื่อ  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล
               เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔) ช่วยย่นระยะทางและ          ที่ ๕ ในโอกาสทรงเปิดทางรถไฟสายกรุงเทพฯ -
               ทําให้เกิดความคล่องตัวในการระบายรถได้ดียิ่ง       นครราชสีมา

                      การถ่ายภาพเข้าไปถึงนครราชสีมาอย่างน้อย           ขณะนี้เรายังค้นไม่พบภาพถ่ายชุดเสด็จประพาส
               ตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว     นครราชสีมา ฝีมือขุนฉายาสาทิศกร

               รัชกาลที่ ๔ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) เมื่อ            นครราชสีมาเป็นเมืองใหญ่ เมื่อมีรถไฟเดินไป
               ขุนสุนทรสาทิสลักษณ์ (จิตร จิตราคนี) ช่างภาพอาชีพ   มากับกรุงเทพฯ แล้ว การค้าขาย การศึกษา ร้านรวง
               คนแรกของไทย เดินทางไปถ่ายรูปปราสาทพนมวัน          ต่างๆ รวมทั้งการถ่ายรูปก็ต้องงอกงามขึ้น แต่ปัญหา

               และของเก่าๆ ในพิมาย ตามพระบรมราชโองการ            สําคัญคือเรายังขาดการรวบรวมภาพถ่ายเก่าของ
               เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑                                   นครราชสีมาให้เป็นกิจจะลักษณะ











                                                                                           สมุดภาพนครราชสีมา   9
                                                                                                           Ÿ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14