Page 5 - ตำรา โรค หู คอ จมูก พ.ศ. ๒๔๗๒ | Textbook of Ear, Throat and Nose 1929
P. 5

คำนำ

                     เมื่อพุทธศักราช 2462 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 6 สภากาชาดสยามได้ส่ง

               นายพันตรี หลวงโกศลเวชชศาสตร์ (เกี๋ยว ชนเห็นชอบ ขณะนั้นเป็นนายร้อยตรี,
               สภากาชาดสยามยืมตำแหน่งมาจากกรมแพทย์ทหารบก) ไปศึกษาต่อแพทย์เฉพาะทาง
                    ู
               โรค ห คอ จมูก ที่ประเทศอังกฤษ สำเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2464 และเดินทางกลับมา
               ปฏิบัติหน้าท ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ท่านเป็นแพทย์เฉพาะทาง ห คอ จมูก
                         ี่
                                                                          ู
                                                 ์
                                          ่
               คนแรกของไทย หากนับเวลาตั้งแต พ.ศ. 2464 จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2564 กำเนิดของ
                                                                             ี
               แพทย์เฉพาะทาง ห คอ จมูก ไทย ได้มีอายุครบ 100 ป หรือ หนึ่งศตวรรษพอด จึงเป็น
                                                          ี
                              ู
               ที่น่าภาคภูมิใจว่าแพทย์เฉพาะทาง หู คอ จมูก เป็นแพทย์เฉพาะทางที่มีประวัต ิ
               เก่าแก่ที่สุดสาขาหนึ่งของประเทศไทย
                     ย้อนกลับไปเมื่อพุทธศักราช 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
               เจ้าอยู่หัว พระราชทานกำเนิดระบบราชการด้านการแพทย์และสาธารณสุขแผน
               ปัจจุบัน (Modern Medicine) ครั้งแรก โดยทรงจัดสร้างโรงพยาบาลศิริราชเป็น

               โรงพยาบาลสมัยใหม (Modern Hospital) ขึ้น และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให ้
                                ่
               สร้างโรงเรียนแพทย์แผนปัจจุบัน (Modern Medical School) ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2433 ซึ่ง
               แพทย์ที่จบการศึกษาล้วนเป็นแพทย์ทั่วไป และหากต้องศึกษาต่อเป็นแพทย์เฉพาะทาง

               ก็ต้องเดินทางไปศึกษาต่างประเทศ กระทั่ง พ.ศ. 2510 แพทยสภาจึงจัดให้มีการ
               ฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางขึ้นในประเทศไทย
                     เนื่องจากแพทย์เฉพาะทาง หู คอ จมูก ในไทย ซึ่งได้รับการฝึกอบรมมาจาก

               ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา หรือประเทศอื่นๆ ในทวีปยุโรป ส่วนใหญ่เดินทาง
               กลับมาเป็นอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์ต่างๆ จึงได้นำระบบการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะ
               ทางของประเทศตะวันตกมาปรับเป็นระบบฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางในไทย จึง

               ควรทราบความเป็นมาของประวัติแพทย์เฉพาะทาง ห คอ จมูก ของประเทศตะวันตก
                                                          ู
               ซึ่งแบ่ง เป็น 2 ระยะ ดังน ี้
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10